ชม 19 ภาพหายากขององค์กร NASA ในยุคแรกๆ

เมื่อพูดถึงองค์กรการบินและอวกาศที่มีชื่อเสียงของโลกอย่าง “NASA” ชื่อว่าคนส่วนใหญ่คงจะนึกภาพขององค์กรที่มีเทคโนโลยีสุดล้ำสมัยศูนย์รวมของเหล่าผู้เชี่ยวชาญลำดับต้นๆ ของโลกขึ้นมาเป็นสิ่งแรก

แต่ก็แน่นอนว่าไม่ว่าองค์กรนี้จะใหญ่แค่ไหนมันก็ต้องมีวันที่องค์กรเพิ่งเริ่มต้นขึ้นใหม่ๆ กับเขาเหมือนกัน ซึ่งสำหรับองค์กร NASA แล้ว เรื่องราวของพวกเขาก็เริ่มขึ้นในแถวๆ ยุค 20 ตั้งแต่ตอนที่พวกเขายังเป็นองค์กรคณะกรรมการที่ปรึกษาด้านการบินแห่งชาติหรือ NACA  อยู่เลย

ดังนั้นในวันนี้ #เหมียวศรัทธา จะพาเพื่อนๆ ไปชมภาพหายากขององค์กร NASA และ NACA ในช่วงที่การขึ้นไปบนอวกาศยังเป็นเพียงแค่ความฝันเท่านั้นกัน ว่าแต่จะเป็นภาพแบบไหนกันนั้น คงต้องให้เพื่อนๆ ไปชมกันเองที่ข้างล่างนี้

เริ่มกันจากภาพของอุโมงค์ลมแห่งแรกของ NACA ที่ถ่ายในปี 1921

 

 

ถังแรงดันของอุโมงค์ความหนาแน่นผันแปรของ NACA เมื่อปี 1922

 

 

 

การผลิตโครงส่วนปีกของเครื่องบิน Thomas-Morse MB-3 เมื่อปี 1922

 

 

 

การทดสอบเครื่องบิน Sperry M-1 ในปี 1927

 

 

 

อุโมงค์ลมความเร็วสูงที่มองจากหอระบายความร้อนเมื่อปี 1942

 

 

โมเดลขนาด 1 ต่อ 4 ของเครื่องบิน XFV-1 เมื่อปี 1942

 

 

การทดสอบรูปทรงของเครื่องบิน Boeing B-29 เมื่อปี 1946

 

 

 

ระบบคอมพิวเตอร์แบบอนาล็อกในอาคารระบบเชื้อเพลิง เมื่อปี 1949

 

 

 

“The Gimbal Rig” อุปกรณ์ที่ออกแบบมาเพื่อจำลองการไหวของยานในอวกาศ ออกแบบมาเพื่อฝึกนักบิน ในปี 1957

 

 

 

การทดลองเครื่อง Lockheed C-141 ในปี 1962

 

 

 

ภาพของเครื่อง NASA M2-F1 เครื่องบินไร้ปีกโปรโตไทป์จากปี 1963

 

 

 

Apollo Block II Saturn I ในการเตรียมทดสอบในอุโมงค์อากาศพลศาสตร์สมบูรณ์ (Aerodynamic integrity wind tunnel)

 

 

 

การบันทึกข้อมูลเกี่ยวกับการบินในระดับความสูงที่สูงในห้องปฏิบัติการบนเครื่องบิน B-29 รุ่นดัดแปรง

 

 

 

“Cray Y 190A”ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ที่ศูนย์วิจัยในอาเมส

 

 

 

John Glenn ในตอนที่กำลังจะขึ้นบินไปเป็นชาวอเมริกันคนแรกที่โคจรรอบโลกเมื่อปี 1962

 

 

 

เหล่านักบินของ Apollo 16 ในระหว่างการฝึกเพื่อไปเหยียบดวงจันทร์

 

 

 

ยานเพื่อการวิจัยลงจอดบนดวงจันทร์ หน้าโรงเก็บที่แลงลีย์ เวอร์จิเนีย

 

 

 

และการทดสอบระบบหายใจแบบปิดในปี 1962

 

 

 

ที่มา designyoutrust และ brainpickings

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *